Posts

บทที่๖ แปลธรรมบท สามาวดี

Image
    tydkif; ( 6 ) omrm0wD   ภาพประกอบจาก သတ္တမတန်း Grade7   တစ်ခါက [1] กาลครั้งหนึ่ง   ที่เมืองโกสัมพี มีอัครมหาเศรษฐีผู้มั่งคั่ง ชื่อว่า “โฆษกะ”   ကောသမ္ဗီပြည် ၌ အလွန်ကြွယ်ဝချမ်းသာသော ဃောသကသူဌေးကြီး တစ်ဦးရှိ၏။ เศรษฐี เป็นคนมีจิตใจ ดี ตั้ง เงินใช้จ่ายบริจาคข้าวเป็นทานให้กับคนยากไร้ วันละหนึ่งพัน ทุกวัน   จากทรัพย์สินของตน သူဌေးကြီးသည် အလွန် စိတ်သဘောထား ကောင်းမွန်သူဖြစ်၍ မိမိပိုင်ဆိုင် သော စည်းစိမ်ဥစ္စာများစွာ ထဲမှ နေ့စဉ်နေ့တိုင်း အသပြာ တစ်ထောင် အကုန် ကျခံ ကာ မရှိဆင်းရဲသားများအတွက် ထမင်းပေးလှူလေသည်။ ( ในโรงทานของโฆษกะเศรษฐี ..เจ้าหน้าที่ร้องตะโกนโหวกเหวก สั่งให้ผู้มารับทาน เดินเรียงกันเป็นแถวหน้ากระดานเข้ามา ) “เรียงแถว กันให้เป็นระเบียบหน่อย   ” စနစ်တကျတန်းစီပါ     โฆษกะเศรษฐี เป็นนักธุรกิจผู้กว้างขวางคนหนึ่งทีเดียว ดังนั้นเขาจึงมีเพื่อนที่คบหาเป็นพันธมิตรมาก   ဃောသကသူဌေးကြီး ကား စီးပွားရေးလုပ်ငန်းရှင်ကြီးတစ်ဦးဖြစ်၍ မိတ်ဆွေအပေါင်းအသင်းများလည်းလွန်စွာပေါများလေသည်။ “สวัสดี เพื่อน ” မင်္ဂလာပါ မိတ်ဆွ

บทที่ ๕ บท

Image
      tydkif; ( 5 )                  yk'f   เทคนิค “แยกลำไผ่ จากกอ” เป็นส่วนที่ย่อยที่สุด เกินกว่าที่จะสร้างความรวดเร็วในการแปลประโยคยาว ๆ ได้ แต่นับได้ว่าเป็นองค์ความรู้ที่สำคัญในการ “แยกกอไผ่ จากป่า” เรียกว่าเทคนิคการตัดบทในประโยค เป็นทางลัดที่ผู้ฝึกแปลควรจะต้องใช้ให้เป็นอีกทางหนึ่งคือ “การตัดบท” บทนี้ ผมจะพาคุณผู้อ่าน ยกระดับจากคำสู่การตัดบท ต่อไป                    เมื่ออ่านมาโดยลำดับจนถึงตรงนี้แล้ว เชื่อมั่นว่าคุณผู้อ่านสามารถแยกคำนาม และ คำกริยาได้บ้างแล้วนะครับ   ☺   โดยใช้วิภัตตินามและวิภัตติกริยานั้น เป็นจุดสังเกต หรือใช้ตัวนามนั่นเองที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น ชื่อทั้งหลาย สถานที่ เวลา พาหนะ เป็นต้น และหากมีคำกริยาปรากฏในคำด้วย ก็พิจารณาตามหลักปองซับนาม การชี้ให้เห็นหน่วยย่อยที่สุดของวาซิงกะ ( part of speech) นับเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการแบ่งส่วนของประโยค นั่นคือ บท ( ပုဒ် ) ในประโยค กิจกรรม ๕.๑ ลองแยกคำในประโยคต่อไปนี้แบบ “แยกไผ่จากกอ” หาคำนามและกริยาให้พบโดยผ่านวิภัตติ (อาจมีปัจจัย สัมพันธ ที่เรายังไม่ได้พูดถึงในบทที่ผ่านมาด้วย)   ဝါကျတစ်ခု